โดยเน้นการสร้างองค์ความรู้และเทคโนโลยีเพื่อความเข้มแข็งทางวิชาการและเป็นฐานในการพัฒนาประเทศ
ตลอดจนการแข่งขันในเวทีโลก รวมทั้งการเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน การขับเคลื่อน สู่ความสำเร็จ
ในงานด้านการวิจัยเป็นบทบาทของผู้บริหาร และคณาจารย์ นักวิจัย มหาวิทยาลัยฯ ที่ได้ร่วมมือกัน
ด้วยวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยที่มุ่งสู่ “มหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนำของโลกด้านการเกษตรอาหาร เทคโนโลยี และนวัตกรรม" มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ดำเนินการจัดตั้ง “สถาบันวิทยาการขั้นสูงแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์"
โดยระดมทรัพยากรจากหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อปฏิบัติงานร่วมกันที่มีกลไก บริหารเป็นการเฉพาะและมีความอิสระ โดยส่งเสริมการสร้างสภาวะการมี ส่วนร่วมระหว่างนักวิจัยและภาคการผลิต (Real Sector) ในการพัฒนา โครงการวิจัยต่าง ๆ
ที่มีความชัดเจนในเป้าหมาย เป้าประสงค์ ผลผลิต และผลลัพธ์
สถาบันวิทยาการขั้นสูงแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ซึ่งมีอธิการบดีเป็นประธาน เพื่อกำกับและดำเนินนโยบายการขับเคลื่อนโครงการมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติในส่วนของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ทั้งนี้ โดยมีคณะที่ปรึกษานานาชาติของมหาวิทยาลัย ซึ่งประกอบด้วยนักวิจัยและนักวิชาการมีชื่อเสียงเกียรติคุณเป็นที่ยอมรับในระดับโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาที่ตรงกับทิศทางและอัตลักษณ์ (Direction and Identity) ของมหาวิทยาลัย
สถาบันนี้ประกอบด้วยศูนย์วิทยาการขั้นสูง 4 ศูนย์ ซึ่งรับผิดชอบการดำเนินโครงการวิจัยเริ่มแบบมุ่งเป้า (Targeted Research Initiatives) โดยมีคณะกรรมการประจำศูนย์ ทำหน้าที่กำกับการดำเนินงานของศูนย์ฯ ให้บรรลุเป้าหมายในแต่ละศูนย์ฯ ประกอบด้วยศูนย์วิจัย และ/หรือ หน่วยวิจัยเฉพาะทาง
ซึ่งดำเนินงานในลักษณะทีมนักวิจัยร่วมระหว่างหน่วยงาน (Inter-Department/Inter-Faculty) และใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ทั้งอาคาร สถานที่ อุปกรณ์ เครื่องมือ และทรัพยากรบุคคล ร่วมกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ศูนย์วิทยาการขั้นสูงเพื่อเกษตรและอาหารเกิดขึ้นจากการประสานความ ร่วมมือของหลากหลายสาขาวิชา ถือเป็นการ
บูรณาการองค์ความรู้ในศาสตร์ ของเกษตร และอาหาร
เพื่อรองรับการพัฒนาด้านการวิจัยขั้นสูงเริ่มจาก ระดับต้นน้ำ ไปจนถึงการพัฒนาเป็นอุตสาหกรรม และให้เกิดประโยชน์สูงสุด กับผู้บริโภค สามารถตอบโจทย์ความต้องการผลิตด้านการเกษตร และ อุตสาหกรรมอาหารทั้งภายในประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลกได้
รวมทั้งการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเพื่อรองรับงานวิจัยขั้นสูงด้วยเป้าหมาย การสร้างนักวิจัยทั้งระดับปริญญาเอกและปริญญาโทกว่า 200 คนในช่วง 3 ปี นับตั้งแต่ปี 2553 เป็นต้นไป และสามารถสร้างความเข้มแข็งในวิชาการของ กลุ่มเกษตรและอาหารให้กับประเทศไทย ศูนย์เทคโนโลยีขั้นสูงย่อย 5 ศูนย์ ภายใต้ศูนย์วิทยาการขั้นสูงเพื่อเกษตรและอาหาร ได้แก่
จุดเน้นของแผนงานวิจัย (Research Program Focus)
จุดเน้นของแผนงานวิจัย (Research Program Focus)
จุดเน้นของแผนงานวิจัย (Research Program Focus)
จุดเน้นของแผนงานวิจัย (Research Program Focus)
จุดเน้นของแผนงานวิจัย (Research Program Focus)
เป็นศูนย์ความเป็นเลิศในงานวิจัยขั้นสูงและประยุกต์เข้ากับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการใช้ ประโยชน์และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเขตร้อนอย่างยั่งยืน
2.1 โครงการวิจัยการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเขตร้อน :
ผลกระทบและการปรับตัวของทรัพยากรธรรมชาติ
ต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก
2.2 โครงการวิจัยการจัดการและการใช้ประโยชน์และสัตว์
2.3 โครงการวิจัยการจัดการทรัพยากรชีวภาพและการบริการ
ของระบบนิเวศทางบก
2.4 โครงการวิจัยการจัดการทรัพยากรชีวภาพและการบริหาร
ของระบบนิเวศทางน้ำ
2.5 โครงการวิจัยเทคโนโลยีการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์
ศูนย์วิทยาการขั้นสูงด้านนาโนเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมเคมี อาหาร และการเกษตร เน้นศึกษาการออกแบวัสดุที่มีโครงสร้างระดับนาโนเมตร มีลักษณะทางโครงสร้างที่จำเพาะ
มีความเป็นรูพรุนในระดับนาโนเมตร
วัสดุเหล่านี้สามารถประยุกต์ใช้ในกระบวนสังเคราะห์สารเคมี กระบวนการเร่ง ปฏิกิริยา กระบวนการแยกอาหาร การตรวจวัดสารเคมีและสารชีวโมเลกุล ซึ่งกระบวนการ เหล่านี้ถือเป็นกระบวนการสำคัญในอุตสาหกรรมทางเคมี อาหาร และการเกษตร
โดยเน้นการสร้างองค์ความรู้และเทคโนโลยีเพื่อความเข้มแข็งทางวิชาการและเป็นฐานในการพัฒนาประเทศ
ตลอดจนการแข่งขันในเวทีโลก รวมทั้งการเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน การขับเคลื่อน สู่ความสำเร็จ ในงานด้านการวิจัยเป็นบทบาทของผู้บริหาร และคณาจารย์ นักวิจัย มหาวิทยาลัยฯ ที่ได้ร่วมมือกัน
โดยเน้นการสร้างองค์ความรู้และเทคโนโลยีเพื่อความเข้มแข็งทางวิชาการและเป็นฐานในการพัฒนาประเทศ
ตลอดจนการแข่งขันในเวทีโลก รวมทั้งการเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน การขับเคลื่อน สู่ความสำเร็จ ในงานด้านการวิจัยเป็นบทบาทของผู้บริหาร และคณาจารย์ นักวิจัย มหาวิทยาลัยฯ ที่ได้ร่วมมือกัน
ด้วยวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยที่มุ่งสู่ “มหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนำของโลกด้านการเกษตรอาหาร เทคโนโลยี และนวัตกรรม" มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ดำเนินการจัดตั้ง “สถาบันวิทยาการขั้นสูงแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์" เป็นหน่วยงานหลักในการดำเนินภารกิจโครงการ “มหาวิทยาลัยแห่งชาติ"
ด้วยวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยที่มุ่งสู่ “มหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนำของโลกด้านการเกษตรอาหาร เทคโนโลยี และนวัตกรรม" มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ดำเนินการจัดตั้ง “สถาบันวิทยาการขั้นสูงแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์" เป็นหน่วยงานหลักในการดำเนินภารกิจโครงการ “มหาวิทยาลัยแห่งชาติ"
“สถาบันวิทยาการขั้นสูงแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์" เป็นหน่วยงานหลักในการดำเนินภารกิจโครงการ “มหาวิทยาลัยแห่งชาติ" โดยระดมทรัพยากรจากหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อปฏิบัติงานร่วมกันที่มีกลไก บริหารเป็นการเฉพาะและมีความอิสระ
ศูนย์วิทยาการขั้นสูงเพื่อเกษตรและอาหารเกิดขึ้นจากการประสานความร่วมมือของหลากหลายสาขาวิชา ถือเป็นการบูรณาการองค์ความรู้ในศาสตร์ ของเกษตร และอาหาร เพื่อรองรับการพัฒนาด้านการวิจัยขั้นสูงเริ่มจาก ระดับต้นน้ำ ไปจนถึงการพัฒนาเป็นอุตสาหกรรม และให้เกิดประโยชน์สูงสุด กับผู้บริโภค สามารถตอบโจทย์ความต้องการผลิตด้านการเกษตร และ อุตสาหกรรมอาหารทั้งภายในประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลกได้
จุดเน้นของแผนงานวิจัย (Research Program Focus)
จุดเน้นของแผนงานวิจัย (Research Program Focus)
จุดเน้นของแผนงานวิจัย (Research Program Focus)
จุดเน้นของแผนงานวิจัย (Research Program Focus)
จุดเน้นของแผนงานวิจัย (Research Program Focus)
เป็นศูนย์ความเป็นเลิศในงานวิจัยขั้นสูงและประยุกต์เข้ากับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการใช้ ประโยชน์และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเขตร้อนอย่างยั่งยืน
2.1 โครงการวิจัยการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเขต
ร้อน : ผลกระทบและการปรับตัวของทรัพยากร
ธรรมชาติต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก
2.2 โครงการวิจัยการจัดการและการใช้ประโยชน์และสัตว์
2.3 โครงการวิจัยการจัดการทรัพยากรชีวภาพและการ
บริการของระบบนิเวศทางบก
2.4 โครงการวิจัยการจัดการทรัพยากรชีวภาพและการ
บริหารของระบบนิเวศทางน้ำ
2.5 โครงการวิจัยเทคโนโลยีการใช้ประโยชน์จุลินทรีย์
ศูนย์วิทยาการขั้นสูงด้านนาโนเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมเคมี อาหาร และการเกษตร เน้นศึกษาการออกแบวัสดุที่มีโครงสร้างระดับนาโนเมตร มีลักษณะทางโครงสร้างที่จำเพาะ มีความเป็นรูพรุนในระดับนาโนเมตร